แผนที่มลพิษทางน้ำ
แผนที่มลพิษทางน้ำ องค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์น้ำที่ผ่านการพิสูจน์จากคนรุ่นก่อนหน้าเรามายาวนาน เป็นวิทยาศาสตร์ของชุมชนที่ผ่านการสังเกต เรียนรู้มายาวนาน ทำให้สามารถใช้เป็น ฐานคิด เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ใหม่ได้อย่างดี เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำของชุมชนกระตุ้นให้เกิดความตระหนักในการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ ในแหล่งน้ำของชุมชน การค้นหาสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่เป็นกลไกก่อมลพิษทางน้ำ มีการสร้างวงล้อพยากรณ์น้ำของชุมชน สร้างแผนที่มลพิษทางน้ำเพื่อการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำของชุมชน P1_RLH20002 P2_RLH20002 วงล้อที่ ๑-2 วงล้อพยากรณ์น้ำของชุมชน (กลางเดือนมกราคม-สิงหาคม) ประโยชน์ของวงล้อพยากรณ์น้ำ ขั้นตอนการสร้างแผนที่มลพิษทางน้ำ เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำของชุมชน 1 เรียนรู้ ปัญหาจากผู้รับผลกระทบ และสำรวจพื้นที่จริง 2 เรียนรู้ การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ 3 ฝึกทักษะเฝ้าระวังคุณภาพน้ำ โดยทำการตรวจวัดค่าออกซิเจนละลายในน้ำ (โดยใช้ DO test kid) 4 เรียนรู้ ประโยชน์ของแผนที่มลพิษทางน้ำ 5 เรียนรู้ตัวอย่างความสำเร็จ ของชุมชนบ้านคลองรังสิต หมู่ 5 ตำบลหลักหก ขั้นตอนการค้นหาสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่เป็นกลไกก่อมลพิษทางน้ำชุมชน 1 สำรวจสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการเกิดมลพิษทางน้ำเตรียมคน : 2 อธิบายวิธีการบันทึกในแบบสำรวจ 3 อธิบายเส้นทางการสำรวจ 4 สรุปผลการสำรวจสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้อง 5 ระดมความคิด สรุปผลการสำรวจแหล่งกำเนิด 6 แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากภูมิปัญญาผู้รู้ ประเด็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1 สถานการณ์น้ำของชุมชน ทั้งในเชิงปริมาณ และคุณภาพน้ำ ที่เปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆของรอบปี 2 การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ เชื่อมโยงกับการเกิดมลพิษทางน้ำของชุมชนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน 3 ตรวจสอบความถูกต้องของแผนที่เดินดินฯ โดยผู้รู้ของชุมชน 4 ตรวจสอบความถูกต้องของการจัด ทำแผนที่เดินดินฯ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 สรุปเป็นสิ่งแวดล้อมเฉพาะที่เป็นกลไกก่อมลพิษทางน้ำของชุมชน P3_RLH20002
ดร.ลาวัณย์ วิจารณ์ (หัวหน้าโครงการ)
ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งงแวดล้อม วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
52/347 พหลโยธิน 87 ถ.พหลโยธิน
อ.เมือง จ.ปทุมธานี 12000
โทร. 02-791-6000 ต่อ 3221, 3223, 3229
โทรสาร. 02-791-6000 ต่อ 3230 หรือ 02-5339472
เบอร์ติดต่อ: 08 9898 9425
0 2791-6000 ต่อ 3221, 3223, 3229
โทรสาร. 0 2791 6000 ต่อ 3230 หรือ 0 2533 9472
E-mail: lawan.w@rsu.ac.th