MENU
เกี่ยวกับโครงการ
องค์ความรู้พัฒนาลำน้ำ
ประชาสัมพันธ์
E-book
ขอรับบริการ
Login
ลืมรหัสผ่าน?
Login
สมัครสมาชิก
ลงทะเบียน
ชื่อ
*
นามสกุล
*
เบอร์โทร
*
อีเมล
*
Username
*
Password
*
ลงทะเบียน
ยกเลิก
ลืมรหัสผ่าน
อีเมล
*
ส่ง
หน้าแรก
ของดี / ของเด่น
ผ้าปาเต๊ะเพ้นท์ลาย
ผ้าปาเต๊ะเพ้นท์ลาย
363 VIEW
ผลิตภัณฑ์เด่นบ้านบางหวาน หมู่ 1
ของดี / ของเด่น ที่เกี่ยวข้อง
ดอกไม้จันทน์หมู่ที่ 7
ทำดอกไม้จันทน์โดยกลุ่มแม่บ้านหมู่ที่ 7 ประมาณ 10-15 คนมีการผลิตสำรองไว้ตลอดเวลา ยอดการจำหน่ายขึ้นอยู่กับออเดอร์จากลูกค้า
อ่านต่อ
สวนเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชินี
สืบเนื่องจากในปีพุทธศักราช 2547 ซึ่งเป็นปีที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงมีพระชนมายุครบ 72 พรรษา เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติแด่พระองค์ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวไทยและชาวภูเก็ตเสมอมา จึงได้มีแนวคิดในการจัดสร้างสวนสาธารณะขึ้นทูลเกล้าถวาย และขอพระราชทานชื่อว่า "สวนเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชินีพ.ศ. 2547" สำหรับพื้นที่ในการก่อสร้างสวนเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษามหาราชินี เทศบาลนครภูเก็ตได้จัดพื้นที่ส่วนหนึ่งของสวน ซึ่งเป็นส่วนถนนกลางให้เป็นที่ตั้งของประติมากรรม "พญามังกรทะเลหรือฮ่ายเหล็งอ๋อง"
อ่านต่อ
อ๊ามจุ้ยตุ่ย
ศาลเจ้าจุ้ยตุ้ย หรือจุ๋ยตุ่ยเต้าโบเก้ง เป็นศาลเจ้าจีนในจังหวัดภูเก็ต คนภูเก็ตเรียกศาลเจ้าว่า อ๊าม ตั้งอยู่ที่ซอยภูธร ถนนระนอง อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
อ่านต่อ
ข้าวหลามหินรุ่ย
เหนียวหลามหรือข้าวหลาม คนภูเก็ตมารู้จักแต่ ข้าวหลามบ้านเคียน จริงๆ แล้ว ข้าวหลามนี้ผลิตมาจากหมู่บ้านเล็กๆ ชื่อว่า บ้านหินรุ่ย ถ้าเรียกอย่างนี้แล้วน้อยคนนักที่จะรู้จัก แต่หมู่บ้านนี้ทำข้าวหลามกันมาหลายรุ่นแล้ว ตั้งแต่รุ่นปู่ย่าตายาย รุ่นพ่อแม่ จนมาถึงรุ่นลูก แรกเริ่มนั้นจะทำการเฉพาะในงานประเพณี หรืองานประจำปี เพราะขั้นตอนในการทำนั้นยุ่งยาก และต้องใช้เวลานานกว่า 10 ชั่วโมง จึงออกมาเป็นข้าวหลามให้เรารับประทานกัน ชาวบ้านหินรุ่ย จะตื่นตั้งแต่ตีสามหัวรุ่ง นำข้าวเหนียวที่แช่ไว้ตั้งแต่ตอนบ่ายของเมื่อวาน เพื่อที่จะทำให้นิ่มและสุกง่าย นำมาสะเด็ดน้ำออกให้หมด ระหว่างนั้นก็เตรียมกะทิ ตัดกระบอกไม้ไผ่ ตัดกาบมะพร้าว และใบตองมาทำจุก แล้วก็นำข้าวเหนียวใส่ในกระบอกไม้ไผ่ที่เตรียมไว้ เทน้ำกะทิปิดจุก ทำจนข้าวเหนียวหมด ระหว่างนั้นก็เตรียมไฟสำหรับเผา เมื่อไฟพร้อมก็นำข้าวหลามมาเผาจะใช้เวลาประมาณ 2 ชั่วโมงแล้วแต่ดินฟ้าอากาศ ท่าอากาศดีชั่วโมงครึ่ง ก็ยกออกจากไฟได้ แต่ถ้าวันไหนฝนตกอากาศชื้นต้องใช้เวลาถึง 3 ชั่วโมง สังเกตว่าข้าวหลามเริ่มสุกแล้ว จากน้ำกะทิที่เดือดร้อนออกมาจากจุก ทิ้งไว้จนน้ำกะทิแห้ง ช่วงนี้ต้องลดไฟลงจนไฟดับ เมื่อน้ำกะทิในกระบอกแห้งแล้ว ก็เก็บกระบอกออกจากกองไฟ จากนั้นนำมาปลอกเปลือกไม้ไผ่ออกให้มากที่สุด เพื่อให้แกะออกรับประทานได้ง่าย หลังจากนั้นก็เราเอาเสี้ยนไม้ไผ่ออก ขั้นตอนสุดท้ายก็นำมาประทับตราสัญลักษณ์ของแต่ละบ้าน เสร็จขั้นตอนทั้งหมดก็เกือบ 10 ชั่วโมงเช้า ถ้าบ้านไหนมีพ่อค้ามาเหมาก็ไม่ต้องออกไปเร่ขายข้างนอก หากไปขายข้างนอกกว่าจะขายหมดก็ตกเย็น ปัจจุบันนี้ยังมีชาวบ้าน 10 ครอบครัวที่ทำข้าวหลามขายเป็นอาชีพ จนข้าวหลามบ้านหินรุ่ย กลายเป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของภูเก็ตแหล่งผลิตชุมชนบ้านหินรุ่ย หมู่ที่ 1 ตำบลเทพกระษัตรี อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต โทรศัพท์ 076-274263 ประธานกลุ่มข้าวหลามหินรุ่ย นายสมชาย วิชิตบุตร
อ่านต่อ